เลือดผู้ป่วยโควิดที่หายแล้ว ช่วยผู้ป่วยคนอื่นอย่างไร

เลือดผู้ป่วยโควิดที่หายแล้ว ช่วยผู้ป่วยคนอื่นอย่างไร

ปัจจุบัน สภากาชาดแห่งประเทศไทย รวมถึงสภากาชาดในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก เริ่มประกาศเปิดรับบริจาคเลือดมาของผู้ที่หายป่วยจากไวรัสโควิด-19 เพื่อนำไปรักษาผู้ป่วยที่กำลังติดเชื้อ เพราะเลือดของพวกเขาสามารถช่วยผู้ป่วยคนอื่นได้

อันที่จริงแล้ว ถ้าจะเรียกให้ถูกต้อง คงต้องเรียกว่าการบริจาคพลาสมา เพราะเป็นการนำ Convalescent Plasma ไปใช้ในการรักษา

โดยพลาสมานี้เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเลือด เป็นของเหลวสีเหลือง ที่มีสัดส่วนประมาณ 55% ของเลือดทั้งหมดครับ ส่วนที่เหลือคือเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และองค์ประกอบอื่น ๆ

การบริจาคพลาสมาแตกต่างจากการบริจาคเลือดตรงที่ว่า หลังจากดึงเลือดออกมาแล้ว เลือดจะถูกปั่นเพื่อแยกเอาเฉพาะพลาสมา (น้ำเหลือง) อย่างเดียวเท่านั้น ส่วนที่เหลือจะส่งกลับคืนร่างกายตามเดิม

 

แม้การใช้ Convalescent Plasma ในการรักษาจะไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่สำหรับไวรัสโควิด-19 แล้ว อะไร ๆ ก็ใหม่ไปหมด

จากผลการศึกษาในประเทศจีนพบว่า ผู้ป่วยไวรัสโควิด-19 ที่มีอาการรุนแรงจำนวน 10 ราย มีอาการดีขึ้นภายใน 3 วัน หลังจากได้รับพลาสมาประมาณ 200 มล. จากผู้ป่วยโควิด-19 ที่หายดีแล้วและมีภูมิคุ้มกัน โดยหลายรายตรวจพบไวรัสน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ทำให้พลาสมาเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สำคัญในการรักษา เนื่องจากปัจจุบัน เรายังไม่มียาที่ใช้รักษาได้โดยตรง

ทั้งนี้ มีข้อจำกัดต่าง ๆ เกี่ยวกับเงื่อนไขในการบริจาค เช่น สุขภาพของผู้บริจาค ความพร้อมของผู้บริจาค ความสมัครใจของผู้บริจาค และจำนวนของผู้ป่วยที่หายจากไวรัสโควิด-19 ทำให้ปัจจุบัน พลาสมายังมีจำนวนจำกัด การนำไปใช้จึงต้องคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุด

สำหรับผู้ป่วยโควิด-19 ที่หายดีแล้ว และมีความต้องการบริจาคพลาสมาเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยคนอื่น ๆ สามารถติดต่อสภากาชาดไทยได้ตามข้อมูลด้านล่างนี้ครับ

 

อ้างอิง: https://bit.ly/3aMZJJY

https://bit.ly/3e2BbP4

ภาพประกอบ: https://bit.ly/3e34b9z

ปัจจุบัน สภากาชาดแห่งประเทศไทย รวมถึงสภากาชาดในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก เริ่มประกาศเปิดรับบริจาคเลือดมาของผู้ที่หายป่วยจากไวรัสโควิด-19 เพื่อนำไปรักษาผู้ป่วยที่กำลังติดเชื้อ เพราะเลือดของพวกเขาสามารถช่วยผู้ป่วยคนอื่นได้

อันที่จริงแล้ว ถ้าจะเรียกให้ถูกต้อง คงต้องเรียกว่าการบริจาคพลาสมา เพราะเป็นการนำ Convalescent Plasma ไปใช้ในการรักษา

โดยพลาสมานี้เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเลือด เป็นของเหลวสีเหลือง ที่มีสัดส่วนประมาณ 55% ของเลือดทั้งหมดครับ ส่วนที่เหลือคือเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และองค์ประกอบอื่น ๆ

การบริจาคพลาสมาแตกต่างจากการบริจาคเลือดตรงที่ว่า หลังจากดึงเลือดออกมาแล้ว เลือดจะถูกปั่นเพื่อแยกเอาเฉพาะพลาสมา (น้ำเหลือง) อย่างเดียวเท่านั้น ส่วนที่เหลือจะส่งกลับคืนร่างกายตามเดิม

 

แม้การใช้ Convalescent Plasma ในการรักษาจะไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่สำหรับไวรัสโควิด-19 แล้ว อะไร ๆ ก็ใหม่ไปหมด

จากผลการศึกษาในประเทศจีนพบว่า ผู้ป่วยไวรัสโควิด-19 ที่มีอาการรุนแรงจำนวน 10 ราย มีอาการดีขึ้นภายใน 3 วัน หลังจากได้รับพลาสมาประมาณ 200 มล. จากผู้ป่วยโควิด-19 ที่หายดีแล้วและมีภูมิคุ้มกัน โดยหลายรายตรวจพบไวรัสน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ทำให้พลาสมาเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สำคัญในการรักษา เนื่องจากปัจจุบัน เรายังไม่มียาที่ใช้รักษาได้โดยตรง

ทั้งนี้ มีข้อจำกัดต่าง ๆ เกี่ยวกับเงื่อนไขในการบริจาค เช่น สุขภาพของผู้บริจาค ความพร้อมของผู้บริจาค ความสมัครใจของผู้บริจาค และจำนวนของผู้ป่วยที่หายจากไวรัสโควิด-19 ทำให้ปัจจุบัน พลาสมายังมีจำนวนจำกัด การนำไปใช้จึงต้องคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุด

สำหรับผู้ป่วยโควิด-19 ที่หายดีแล้ว และมีความต้องการบริจาคพลาสมาเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยคนอื่น ๆ สามารถติดต่อสภากาชาดไทยได้ตามข้อมูลด้านล่างนี้ครับ

 

อ้างอิง: https://bit.ly/3aMZJJY

https://bit.ly/3e2BbP4

ภาพประกอบ: https://bit.ly/3e34b9z

ปัจจุบัน สภากาชาดแห่งประเทศไทย รวมถึงสภากาชาดในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก เริ่มประกาศเปิดรับบริจาคเลือดมาของผู้ที่หายป่วยจากไวรัสโควิด-19 เพื่อนำไปรักษาผู้ป่วยที่กำลังติดเชื้อ เพราะเลือดของพวกเขาสามารถช่วยผู้ป่วยคนอื่นได้

อันที่จริงแล้ว ถ้าจะเรียกให้ถูกต้อง คงต้องเรียกว่าการบริจาคพลาสมา เพราะเป็นการนำ Convalescent Plasma ไปใช้ในการรักษา

โดยพลาสมานี้เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเลือด เป็นของเหลวสีเหลือง ที่มีสัดส่วนประมาณ 55% ของเลือดทั้งหมดครับ ส่วนที่เหลือคือเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และองค์ประกอบอื่น ๆ

การบริจาคพลาสมาแตกต่างจากการบริจาคเลือดตรงที่ว่า หลังจากดึงเลือดออกมาแล้ว เลือดจะถูกปั่นเพื่อแยกเอาเฉพาะพลาสมา (น้ำเหลือง) อย่างเดียวเท่านั้น ส่วนที่เหลือจะส่งกลับคืนร่างกายตามเดิม

 

แม้การใช้ Convalescent Plasma ในการรักษาจะไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่สำหรับไวรัสโควิด-19 แล้ว อะไร ๆ ก็ใหม่ไปหมด

จากผลการศึกษาในประเทศจีนพบว่า ผู้ป่วยไวรัสโควิด-19 ที่มีอาการรุนแรงจำนวน 10 ราย มีอาการดีขึ้นภายใน 3 วัน หลังจากได้รับพลาสมาประมาณ 200 มล. จากผู้ป่วยโควิด-19 ที่หายดีแล้วและมีภูมิคุ้มกัน โดยหลายรายตรวจพบไวรัสน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ทำให้พลาสมาเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สำคัญในการรักษา เนื่องจากปัจจุบัน เรายังไม่มียาที่ใช้รักษาได้โดยตรง

ทั้งนี้ มีข้อจำกัดต่าง ๆ เกี่ยวกับเงื่อนไขในการบริจาค เช่น สุขภาพของผู้บริจาค ความพร้อมของผู้บริจาค ความสมัครใจของผู้บริจาค และจำนวนของผู้ป่วยที่หายจากไวรัสโควิด-19 ทำให้ปัจจุบัน พลาสมายังมีจำนวนจำกัด การนำไปใช้จึงต้องคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุด

สำหรับผู้ป่วยโควิด-19 ที่หายดีแล้ว และมีความต้องการบริจาคพลาสมาเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยคนอื่น ๆ สามารถติดต่อสภากาชาดไทยได้ตามข้อมูลด้านล่างนี้ครับ

 

อ้างอิง: https://bit.ly/3aMZJJY

https://bit.ly/3e2BbP4

ภาพประกอบ: https://bit.ly/3e34b9z

Visitors: 1,217,799